You are here: Home >Archive for the ‘คู่มือการใช้เครื่องมือ’ Category

เครื่องไอออนโครมาโทกราฟ

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

เครื่องขยายจำนวนสารพันธุกรรมแบบเวลาจริง (Real-Time PCR)

คุณสมบัติเครื่อง – หลักการ ใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction แบบ Real-Time – ทำการวิเคราะห์ SNP โดยใช้ TagMan MGB Probes ได้ – สามารถใช้กับปฏิกิริยาเคมีทั้งชนิด Flurogenic 5’ nuclease assay และ SYBR Green1 ความสามารถในการวิเคราะห์

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

เครื่องทดสอบความเมื่อยล้าของสมองและสายตา (Flicker fusion)

คุณสมบัติเครื่อง เครื่องมือวัดความล้าของตา (flicker fusion model 12021) เป็นเครื่องมือวัดความล้าของตาที่ใช้หลักการของ critical fusion frequency (CFF) ซึ่งเป็นการวัดที่อาศัยการทำงานร่วมกันของตาและสมอง โดยให้ ผู้ทดสอบมองแถบสีที่กระพริบด้วยความถี่ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนผู้ถูกทดสอบไม่สามารถเห็นแถบสีกระพริบอีกต่อไป ค่า CFF มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (cycle per second หรือ Hertz) เมื่อตายังไม่ล้า ตาจะรับรู้ถึงการกระพริบที่ความถี่สูงได้ดี ค่า CFF จะสูง แต่เมื่อเกิดอาการตาล้า การทดสอบจะให้ค่า CFF ที่ลดลง

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

เครื่องวัดขนาดเซลล์โดยใช้แสงเลเซอร์ (Flowcytometer)

คุณสมบัติเครื่อง – หลักการการทำงานของ Flow Cytometer อาศัยการวัดเซลล์ที่กำลังไหลอยู่ ซึ่งจะวัดปริมาณของสารเรืองแสงที่เปล่งบนผิวเซลล์หรือภายในเซลล์ขณะที่ไหลผ่านทางพวย (nozzle) ของเครื่องเป็นเซลล์เดี่ยวๆ ในอัตราเร็ว 500-1,000 เซลล์/วินาที เมื่อเซลล์ไหลผ่านลำแสงเลเซอร์ แสงที่กระทบเซลล์จะเกิดการหักเหเป็น 2 ทิศทาง ในตัวเครื่องจะมีตัวมารับการหักเหของแสงเรียกว่า “Detector” ซึ่งจะวัดค่าการหักเหของแสงเป็นมุมแคบทางด้านหน้าทำให้สามารถหาขนาดของเซลล์ได้ และวัดค่าการหักเหของแสงที่ออกจากเซลล์จะทำให้สามารถวัดส่วนประกอบภายในเซลล์ได้ จากนั้นเครื่องก็จะเปลี่ยนสัญญาณแสงให้กลายเป็นสัญญาณไฟฟ้า และส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลออกมาเป็นค่าทางดิจิตอลเป็นขนาด และรูปร่างของเซลล์หรือโมเลกุลนั้นๆ

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

Thermo Gravimetric Analysis (TGA)

คู่มือการใช้เครื่องมือ Thermo Gravimetric Analysis (TGA) model TA Instrument TGA เป็นเครื่องมือวิเคราะห์เชิงความร้อน คู่มือการใช้เครื่อง TGA ฉบับย่อนี้จะเป็นแนวทางเบื้องต้นให้ผู้ที่มีความสนใจ สามารถทำตามและใช้เครื่องมือได้อย่างง่าย ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการใช้ให้มีความชำนาญขั้นสูงขึ้นโดยศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือฉบับเต็มรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ และทดลองปฏิบัติควบคู่กันไปจะนำสัมฤทธิ์ผลมาสู่ผู้ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี หัวข้อที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ การเปิดเครื่อง การใช้ software การจัดการข้อมูล และการปิดเครื่อง 1. การเปิดเครื่อง 2.1 เปิด ปั้มลมและ drain น้ำออก, UPS ตัวใหญ่ 2.2 หม้อแปลง(ด้านล่างเตาเผา), ตัวเครื่อง TGA สวิทซ์สีแดงทั้ง 2 2.3 แก๊สที่ต้องการใช้งาน No.1) ต่อ N2 และ 2) ต่อกับแก๊สอื่นๆ เช่น air 2.4 gas switching (ด้านหลัง) เลือก [...]

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS