การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)(ต่อ) ประพล จาระตะคุ* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th —————————————————————————————————————————- หาความยาวของสายส่งบนแผนภูมิสมิท โดยลากเส้นตรงจากจุด ผ่านจุด A จะได้ มีค่าเท่ากับ คำนวณความยาวสายส่งจะได้เท่ากับ ดังรูปที่ 7 รูปที่ 7 แสดงการหาค่าความยาวของสายส่งด้านอินพุต
การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)
การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks) ประพล จาระตะคุ* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th _______________________________________________________________ การออกแบบของ Matching Networks รูปที่ 1 โดยใช้ไมโครสตริป ซึ่งจะอธิบายในรูป admittances ร่วมกับ และ รูปที่ 1 วงจรโครงข่ายแมตช์ชิ่ง การคำนวณโครงข่ายแมตช์ชิ่ง พิจารณาด้านเข้า
การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 1) ประพล จาระตะคุ* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th การออกแบบวงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กนั้น การใช้พารามิเตอร์กระจัดกระจาย(Scattering Parameter) ก็เพียงพอสำหรับการออกแบบแล้ว หลังจากเราเลือกทรานซิสเตอร์ที่เหมาะสมโดยพิจารณาข้อกำหนดแล้วนั้น ควรพิจารณาวงจรขยายช่วงเดียว หากได้อัตราขยายที่เพียงพอควรเลือกรูปแบบการจัดวงจร ในลักษณะที่ทำให้มีการบังคับการไหลของกระแสที่ทำให้กับทรานซิสเตอร์ โดยปกติเราจะวางสตับแบบลัดวงจรไว้ใกล้ ๆ กับทรานซิสเตอร์เพื่อให้เกิด การบังคับทิศทางการไหลของกระแสตรง