You are here: Home > คู่มือการใช้เครื่องมือ > Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS)

Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS)(46,455 views)

คู่มือการใช้เครื่องมือ Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS)

UV-VIS Spectrophotometer

UV-VIS Spectrophotometer

Varian model Cary1E

Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS) เป็นเครื่องมือที่วัดค่าการดูดกลืนแสงที่อยู่ในช่วงอัลตร้าไวโอเลต และวิสิเบิ้ล ช่วงความยาวคลื่นประมาณ 190 – 800 นาโนเมตร ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ สารประกอบเชิงซ้อน หรือสารอนินทรีย์ ทั้งที่มีสีและไม่มีสี การดูดกลืนแสงของสารต่างๆ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสาร จึงสามารถวิเคราะห์ได้ในเชิงคุณภาพและปริมาณ เป็นเทคนิคที่ให้สภาพไวที่ดี และใช้กันอย่างแพร่หลาย

ในการใช้เครื่องมือผู้ใช้งานควรมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน ส่วนประกอบของเครื่องมือและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งจะทำให้เข้าใจการทำงานของเครื่องมือ และใช้เครื่องมือได้อย่างรวดเร็ว มีผลการทดลองที่มีความถูกต้องและแม่นยำ  นอกจากนั้นยังเป็นการลดความเสียหายอันเกิดจาก การใช้เครื่องมือที่ผิดวิธี หากเกิดปัญหาในการใช้เครื่องมือ ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ทันที

คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ฉบับย่อนี้จะเป็นแนวทางเบื้องต้นให้ผู้ที่มีความสนใจ สามารถทำตามและใช้เครื่องมือได้อย่างง่าย ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการใช้ให้มีความชำนาญขั้นสูงขึ้นโดยศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือฉบับเต็มรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ และทดลองปฏิบัติควบคู่กันไปจะนำสัมฤทธิ์ผลมาสู่ผู้ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี หัวข้อที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ การเตรียมตัวอย่าง การเปิดเครื่อง การใช้ software และการปิดเครื่อง

1. การเตรียมตัวอย่าง

ตัวอย่างที่จะนำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UV-VIS จะอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ โดยส่วนใหญ่จะในรูปของสารละลาย บรรจุใน cuvette และนำเข้าเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) ได้เลย (cuvette เบิกได้ที่เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเคมี)

2. การเปิดเครื่อง

2.1 เปิดสวิทซ์ที่ตัวเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และปริ้นเตอร์

3. การใช้ software และการวัดตัวอย่าง

3.1 เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์แล้ว เครื่องจะแจ้งให้ใส่ password คือ cary1E (หมายเลข 1 ให้กดที่แป้นพิมพ์ ไม่กดจากปุ่ม Num Lock)

3.2 ที่ C:/>พิมพ์ cary และ enter (¿) เพื่อเข้าสู่หน้า application ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งานว่าต้องการใช้งานในส่วนของ application ใด โดยส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้ base system เพื่อสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด และกำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3 เลือก base system ¿ เข้ามาสู่หน้า index

3.3.1 การสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด (l max)

3.3.1.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode :  Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa  : NM (nanometer)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ช่วงความยาวคลื่นที่ต้องการศึกษา (ช่วง UV l =190-400 nm, ช่วง Vis l=400-900 nm)

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.1.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Display ¿

3.3.1.3 การจับ cuvette ห้ามจับด้านใส ให้จับด้านที่ขุ่น ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.1.4 นำ cuvette ใส่ blank ที่อยู่ด้านนอกออก เทสารละลายทิ้งเปลี่ยนใส่ตัวอย่างที่ต้องการจะวิเคราะห์ (กลั้วด้วยตัวอย่างที่จะวัด 2-3 ครั้ง)

3.3.1.5 กด F9 เพื่อทำการ scan ตัวอย่าง รอจนกระทั่งเครื่อง scan เสร็จ (ตัวเลขด้านขวาบน ที่แสดงค่า l จะนิ่ง)

3.3.1.6 ปรับสเกลให้เหมาะสมโดยเลือก More ¿ เลือก Erase ¿ และ View ¿

3.3.1.7 หาค่า lmax โดย เลือก Cursor ¿ เลือก Current ¿ กด X (max)

3.3.1.8 พิมพ์ spectrum โดยกด print screen

3.3.1.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

3.3.2 กำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3.2.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode :  Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa  : SN (sample number)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ใส่ค่าจำนวนตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.2.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Advance ¿ แก้ไขค่าต่างๆ กด F2

3.3.2.3 แก้ไข Cycle count / replicates : 3 (จำนวนครั้งที่ต้องการวัด) กด Esc ออกจากหน้าจอ advance

3.3.2.4 เลือก reports ¿ แล้ว กด F4 เพื่อใส่ค่า  l ที่ต้องการลงไปและกด ¿

3.3.2.5 ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.2.6 กด F9 เครื่องจะแจ้งให้ใส่ตัวอย่างเข้าไปในเครื่อง กด F9 อีกครั้งเพื่อวัดค่า Abs ของ blank

3.3.2.7 นำ blank ออก และใส่ตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ลงไป กด F9 เพื่อวัดค่า Abs ในตัวอย่างอื่นก็ทำเช่นเดียวกัน

3.3.2.8 เมื่อใช้งานเสร็จกด F12 (หยุดการวัด) เลือก Print ¿ เพื่อพิมพ์ผลการทดลอง

3.3.2.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

4. การปิดเครื่อง

4.1 ปิดเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และ พริ้นเตอร์

4.2 ทำความสะอาด cuvette โดยกลั้วด้วยน้ำยาล้างจาน และล้างด้วยน้ำประปา ตามด้วยน้ำกลั่น ห้ามใช้แปรงทำความสะอาด Cuvette

4.3 ลงบันทึกการใช้เครื่องมือทุกครั้ง

4.4 ทำความสะอาดเครื่องมือ และบริเวณที่ใช้งานให้เรียบร้อย

5. หนังสืออ้างอิง

6.1 คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ยี่ห้อ Varian รุ่น Cary 1E

6.2 หลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ. แม้น อมรสิทธิ์ และ อมร เพชรสม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2535.

Created by benzene

13 June 2009

คู่มือการใช้เครื่องมือ Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS)

Varian model Cary1E

Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS) เป็นเครื่องมือที่วัดค่าการดูดกลืนแสงที่อยู่ในช่วงอัลตร้าไวโอเลต และวิสิเบิ้ล ช่วงความยาวคลื่นประมาณ 190 800 นาโนเมตร ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ สารประกอบเชิงซ้อน หรือสารอนินทรีย์ ทั้งที่มีสีและไม่มีสี การดูดกลืนแสงของสารต่างๆ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสาร จึงสามารถวิเคราะห์ได้ในเชิงคุณภาพและปริมาณ เป็นเทคนิคที่ให้สภาพไวที่ดี และใช้กันอย่างแพร่หลาย

ในการใช้เครื่องมือผู้ใช้งานควรมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน ส่วนประกอบของเครื่องมือและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งจะทำให้เข้าใจการทำงานของเครื่องมือ และใช้เครื่องมือได้อย่างรวดเร็ว มีผลการทดลองที่มีความถูกต้องและแม่นยำ นอกจากนั้นยังเป็นการลดความเสียหายอันเกิดจาก การใช้เครื่องมือที่ผิดวิธี หากเกิดปัญหาในการใช้เครื่องมือ ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ทันที

คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ฉบับย่อนี้จะเป็นแนวทางเบื้องต้นให้ผู้ที่มีความสนใจ สามารถทำตามและใช้เครื่องมือได้อย่างง่าย ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการใช้ให้มีความชำนาญขั้นสูงขึ้นโดยศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือฉบับเต็มรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ และทดลองปฏิบัติควบคู่กันไปจะนำสัมฤทธิ์ผลมาสู่ผู้ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี หัวข้อที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ การเตรียมตัวอย่าง การเปิดเครื่อง การใช้ software และการปิดเครื่อง

1. การเตรียมตัวอย่าง

ตัวอย่างที่จะนำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UV-VIS จะอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ โดยส่วนใหญ่จะในรูปของสารละลาย บรรจุใน cuvette และนำเข้าเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) ได้เลย (cuvette เบิกได้ที่เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเคมี)

2. การเปิดเครื่อง

2.1 เปิดสวิทซ์ที่ตัวเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และปริ้นเตอร์

3. การใช้ software และการวัดตัวอย่าง

3.1 เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์แล้ว เครื่องจะแจ้งให้ใส่ password คือ cary1E (หมายเลข 1 ให้กดที่แป้นพิมพ์ ไม่กดจากปุ่ม Num Lock)

3.2 ที่ C:/>พิมพ์ cary และ enter (¿) เพื่อเข้าสู่หน้า application ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งานว่าต้องการใช้งานในส่วนของ application ใด โดยส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้ base system เพื่อสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด และกำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3 เลือก base system ¿ เข้ามาสู่หน้า index

3.3.1 การสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด (l max)

3.3.1.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode : Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa : NM (nanometer)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ช่วงความยาวคลื่นที่ต้องการศึกษา (ช่วง UV l =190-400 nm, ช่วง Vis l=400-900 nm)

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.1.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Display ¿

3.3.1.3 การจับ cuvette ห้ามจับด้านใส ให้จับด้านที่ขุ่น ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.1.4 นำ cuvette ใส่ blank ที่อยู่ด้านนอกออก เทสารละลายทิ้งเปลี่ยนใส่ตัวอย่างที่ต้องการจะวิเคราะห์ (กลั้วด้วยตัวอย่างที่จะวัด 2-3 ครั้ง)

3.3.1.5 กด F9 เพื่อทำการ scan ตัวอย่าง รอจนกระทั่งเครื่อง scan เสร็จ (ตัวเลขด้านขวาบน ที่แสดงค่า l จะนิ่ง)

3.3.1.6 ปรับสเกลให้เหมาะสมโดยเลือก More ¿ เลือก Erase ¿ และ View ¿

3.3.1.7 หาค่า lmax โดย เลือก Cursor ¿ เลือก Current ¿ กด X (max)

3.3.1.8 พิมพ์ spectrum โดยกด print screen

3.3.1.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

3.3.2 กำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3.2.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode : Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa : SN (sample number)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ใส่ค่าจำนวนตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.2.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Advance ¿ แก้ไขค่าต่างๆ กด F2

3.3.2.3 แก้ไข Cycle count / replicates : 3 (จำนวนครั้งที่ต้องการวัด) กด Esc ออกจากหน้าจอ advance

3.3.2.4 เลือก reports ¿ แล้ว กด F4 เพื่อใส่ค่า l ที่ต้องการลงไปและกด ¿

3.3.2.5 ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.2.6 กด F9 เครื่องจะแจ้งให้ใส่ตัวอย่างเข้าไปในเครื่อง กด F9 อีกครั้งเพื่อวัดค่า Abs ของ blank

3.3.2.7 นำ blank ออก และใส่ตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ลงไป กด F9 เพื่อวัดค่า Abs ในตัวอย่างอื่นก็ทำเช่นเดียวกัน

3.3.2.8 เมื่อใช้งานเสร็จกด F12 (หยุดการวัด) เลือก Print ¿ เพื่อพิมพ์ผลการทดลอง

3.3.2.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

4. การปิดเครื่อง

4.1 ปิดเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และ พริ้นเตอร์

4.2 ทำความสะอาด cuvette โดยกลั้วด้วยน้ำยาล้างจาน และล้างด้วยน้ำประปา ตามด้วยน้ำกลั่น ห้ามใช้แปรงทำความสะอาด Cuvette

4.3 ลงบันทึกการใช้เครื่องมือทุกครั้ง

4.4 ทำความสะอาดเครื่องมือ และบริเวณที่ใช้งานให้เรียบร้อย

5. หนังสือ

คู่มือการใช้เครื่องมือ Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS)

Varian model Cary1E

Ultra violet -Visible Spectrophotometer (UV-VIS) เป็นเครื่องมือที่วัดค่าการดูดกลืนแสงที่อยู่ในช่วงอัลตร้าไวโอเลต และวิสิเบิ้ล ช่วงความยาวคลื่นประมาณ 190 – 800 นาโนเมตร ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ สารประกอบเชิงซ้อน หรือสารอนินทรีย์ ทั้งที่มีสีและไม่มีสี การดูดกลืนแสงของสารต่างๆ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสาร จึงสามารถวิเคราะห์ได้ในเชิงคุณภาพและปริมาณ เป็นเทคนิคที่ให้สภาพไวที่ดี และใช้กันอย่างแพร่หลาย

ในการใช้เครื่องมือผู้ใช้งานควรมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน ส่วนประกอบของเครื่องมือและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งจะทำให้เข้าใจการทำงานของเครื่องมือ และใช้เครื่องมือได้อย่างรวดเร็ว มีผลการทดลองที่มีความถูกต้องและแม่นยำ  นอกจากนั้นยังเป็นการลดความเสียหายอันเกิดจาก การใช้เครื่องมือที่ผิดวิธี หากเกิดปัญหาในการใช้เครื่องมือ ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ทันที

คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ฉบับย่อนี้จะเป็นแนวทางเบื้องต้นให้ผู้ที่มีความสนใจ สามารถทำตามและใช้เครื่องมือได้อย่างง่าย ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการใช้ให้มีความชำนาญขั้นสูงขึ้นโดยศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือฉบับเต็มรูปแบบเป็นภาษาอังกฤษ และทดลองปฏิบัติควบคู่กันไปจะนำสัมฤทธิ์ผลมาสู่ผู้ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี หัวข้อที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ การเตรียมตัวอย่าง การเปิดเครื่อง การใช้ software และการปิดเครื่อง

1. การเตรียมตัวอย่าง

ตัวอย่างที่จะนำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง UV-VIS จะอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ โดยส่วนใหญ่จะในรูปของสารละลาย บรรจุใน cuvette และนำเข้าเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) ได้เลย (cuvette เบิกได้ที่เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเคมี)

2. การเปิดเครื่อง

2.1 เปิดสวิทซ์ที่ตัวเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และปริ้นเตอร์

3. การใช้ software และการวัดตัวอย่าง

3.1 เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์แล้ว เครื่องจะแจ้งให้ใส่ password คือ cary1E (หมายเลข 1 ให้กดที่แป้นพิมพ์ ไม่กดจากปุ่ม Num Lock)

3.2 ที่ C:/>พิมพ์ cary และ enter (¿) เพื่อเข้าสู่หน้า application ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งานว่าต้องการใช้งานในส่วนของ application ใด โดยส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้ base system เพื่อสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด และกำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3 เลือก base system ¿ เข้ามาสู่หน้า index

3.3.1 การสแกนหาความยาวคลื่นที่สารดูดกลืนแสงได้มากที่สุด (l max)

3.3.1.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode :  Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa  : NM (nanometer)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ช่วงความยาวคลื่นที่ต้องการศึกษา (ช่วง UV l =190-400 nm, ช่วง Vis l=400-900 nm)

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.1.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Display ¿

3.3.1.3 การจับ cuvette ห้ามจับด้านใส ให้จับด้านที่ขุ่น ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.1.4 นำ cuvette ใส่ blank ที่อยู่ด้านนอกออก เทสารละลายทิ้งเปลี่ยนใส่ตัวอย่างที่ต้องการจะวิเคราะห์ (กลั้วด้วยตัวอย่างที่จะวัด 2-3 ครั้ง)

3.3.1.5 กด F9 เพื่อทำการ scan ตัวอย่าง รอจนกระทั่งเครื่อง scan เสร็จ (ตัวเลขด้านขวาบน ที่แสดงค่า l จะนิ่ง)

3.3.1.6 ปรับสเกลให้เหมาะสมโดยเลือก More ¿ เลือก Erase ¿ และ View ¿

3.3.1.7 หาค่า lmax โดย เลือก Cursor ¿ เลือก Current ¿ กด X (max)

3.3.1.8 พิมพ์ spectrum โดยกด print screen

3.3.1.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

3.3.2 กำหนดค่าความยาวคลื่น (l) เพื่อวัดค่า Absorbance (Abs)

3.3.2.1 เลือก parameter ¿ จากนั้นแก้ไข parameter โดยกด F2 ค่าที่จำเป็นต้องแก้ไขคือ

- photometric mode :  Abs หากต้องการเปลี่ยนให้ใช้ space bar แก้ไข

- Abscissa  : SN (sample number)

- coordinate Y : 0 – 1

- coordinate X : ใส่ค่าจำนวนตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์

- Lamp : (UV-VIS) เลือกให้เหมาะกับช่วงความยาวคลื่นที่เราจะศึกษา

3.3.2.2 กด Esc ออกจากหน้า parameter และกด Advance ¿ แก้ไขค่าต่างๆ กด F2

3.3.2.3 แก้ไข Cycle count / replicates : 3 (จำนวนครั้งที่ต้องการวัด) กด Esc ออกจากหน้าจอ advance

3.3.2.4 เลือก reports ¿ แล้ว กด F4 เพื่อใส่ค่า  l ที่ต้องการลงไปและกด ¿

3.3.2.5 ใส่ blank ทั้ง 2 cuvette ลงในเครื่อง โดยปริมาณสารที่ใส่ประมาณ 3 ใน 4 ของ cuvette ปิดฝาเครื่อง แล้วกด F5 เพื่อ set zero เครื่อง

3.3.2.6 กด F9 เครื่องจะแจ้งให้ใส่ตัวอย่างเข้าไปในเครื่อง กด F9 อีกครั้งเพื่อวัดค่า Abs ของ blank

3.3.2.7 นำ blank ออก และใส่ตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ลงไป กด F9 เพื่อวัดค่า Abs ในตัวอย่างอื่นก็ทำเช่นเดียวกัน

3.3.2.8 เมื่อใช้งานเสร็จกด F12 (หยุดการวัด) เลือก Print ¿ เพื่อพิมพ์ผลการทดลอง

3.3.2.9 ออกจากโปรแกรม โดยกด Esc ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเครื่องถามว่า Exit to dos? พิมพ์ Y ¿ จะกลับไปที่หน้า application กด Esc อีกครั้ง จะกลับไปที่ C:/>

4. การปิดเครื่อง

4.1 ปิดเครื่อง UV-VIS, คอมพิวเตอร์ และ พริ้นเตอร์

4.2 ทำความสะอาด cuvette โดยกลั้วด้วยน้ำยาล้างจาน และล้างด้วยน้ำประปา ตามด้วยน้ำกลั่น ห้ามใช้แปรงทำความสะอาด Cuvette

4.3 ลงบันทึกการใช้เครื่องมือทุกครั้ง

4.4 ทำความสะอาดเครื่องมือ และบริเวณที่ใช้งานให้เรียบร้อย

5. หนังสืออ้างอิง

6.1 คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ยี่ห้อ Varian รุ่น Cary 1E

6.2 หลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ. แม้น อมรสิทธิ์ และ อมร เพชรสม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2535.

Created by benzene

13 June 2009

อ้างอิง

6.1 คู่มือการใช้เครื่อง UV-VIS ยี่ห้อ Varian รุ่น Cary 1E

6.2 หลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ. แม้น อมรสิทธิ์ และ อมร เพชรสม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2535.

Created by benzene

13 June 2009

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

Leave a Reply


− 1 = one