การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)(6,962 views)
การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)
ประพล จาระตะคุ* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา
*Email: prapol@sut.ac.th
_______________________________________________________________
การออกแบบของ Matching Networks รูปที่ 1 โดยใช้ไมโครสตริป ซึ่งจะอธิบายในรูป admittances ร่วมกับ และ
รูปที่ 1 วงจรโครงข่ายแมตช์ชิ่ง
การคำนวณโครงข่ายแมตช์ชิ่ง พิจารณาด้านเข้า
คำนวณหา และ จากสมการ
จะได้
จากสมการ
จะได้
ทำการ Normalize จะได้
จากนั้นนำค่า มาพล็อตบนแผนภูมิสมิท
รูปที่ 3 แสดงตำแหน่ง บนแผนภูมิสมิท
จากนั้นลากเส้นวงกลม และมีรัศมีใช้วงเวียนวาดวงกลมมีจุดศูนย์กลางที่จุด และมีรัศมีเท่ากับระยะจากจุด ถึง จากนั้นลากเส้นตรงจากจุด ผ่านจุดศูนย์กลางและตัดส่วนโค้งของวงกลมที่อยู่ตรงข้ามจุด ซึ่งจะเป็นค่าแอดมิตแตนซ์ () และเส้นตรงนี้จะตัดที่ λ มีค่าเท่ากับ 0.206λ ดังรูปที่ 4
รูปที่ 4 แสดงการเปลี่ยนค่าอิมพีแดนซ์เป็นแอดมิตแตนซ์
เนื่องจากตัวอย่างนี้ทำการวนขึ้นด้านบนของแผนภูมิสมิท เพื่อให้ได้ค่าหลังจากที่กำจัดค่าจริงออกแล้วเหลือเพียง +jb ซึ่งเป็นวิธีการทำ open shunt stub จากนั้นลากเส้นตามส่วนโค้งที่มีค่าจริงเท่ากับ 1.0 ขึ้นไปตัดกับวงกลมจะได้จุด A มีค่าเท่ากับ 1+j2.5 แล้วลากเส้นตามส่วนโค้งของวงกลมไปหาจุด ดังรูปที่ 5
รูปที่ 5 แสดงการวนแผนภูมิสมิทเพื่อกำจัดค่าจริง
หาค่าความยาวของ open shunt stub โดยการลากเส้นจากจุด A ไปยังจุด B แล้วลากเส้นตรงจากจุด ผ่านจุด 0.189λ บนแผนภูมิสมิท และได้ค่าความยาวของ open shunt stub มีค่าเท่ากับ 0.189λ -0λ=0.189λ ดังรูปที่ 6
รูปที่ 6 แสดงการหาค่าความยาวของ open shunt stub ด้านอินพุต
อ่านต่อ http://cste.sut.ac.th/articles/?p=472
________________________________________________
Refference :
Reinhold Ludwig, Pavel Bretchko., RF circuit design : theory and applications, Upper Saddle River, NJ : Prentice Hall :463-527
Balanis, C. A. (1997). Antenna Theory: Analysis and Design. John Wiley & Sons,Inc.
Devendra K.Misra. Radio-Frequency and Microwave Communication Circuits Analysis and Design. John Wiley & Sons,Inc.