You are here: Home >Archive for July, 2012

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)(ต่อ)

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)(ต่อ) ประพล จาระตะคุ*   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th —————————————————————————————————————————- หาความยาวของสายส่งบนแผนภูมิสมิท โดยลากเส้นตรงจากจุด ผ่านจุด A จะได้ มีค่าเท่ากับ คำนวณความยาวสายส่งจะได้เท่ากับ ดังรูปที่ 7 รูปที่ 7 แสดงการหาค่าความยาวของสายส่งด้านอินพุต

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks)

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 2 การออกแบบวงจร Matching Networks) ประพล จาระตะคุ*  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th _______________________________________________________________ การออกแบบของ Matching Networks รูปที่ 1 โดยใช้ไมโครสตริป ซึ่งจะอธิบายในรูป admittances ร่วมกับ  และ รูปที่ 1 วงจรโครงข่ายแมตช์ชิ่ง การคำนวณโครงข่ายแมตช์ชิ่ง พิจารณาด้านเข้า

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 1)

การออกแบบวงจรขยายสัญญาณความถี่ 2.45 GHz โดยใช้ทรานซิสเตอร์(ตอนที่ 1) ประพล จาระตะคุ*  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา *Email: prapol@sut.ac.th การออกแบบวงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กนั้น การใช้พารามิเตอร์กระจัดกระจาย(Scattering Parameter) ก็เพียงพอสำหรับการออกแบบแล้ว หลังจากเราเลือกทรานซิสเตอร์ที่เหมาะสมโดยพิจารณาข้อกำหนดแล้วนั้น ควรพิจารณาวงจรขยายช่วงเดียว หากได้อัตราขยายที่เพียงพอควรเลือกรูปแบบการจัดวงจร ในลักษณะที่ทำให้มีการบังคับการไหลของกระแสที่ทำให้กับทรานซิสเตอร์ โดยปกติเราจะวางสตับแบบลัดวงจรไว้ใกล้ ๆ กับทรานซิสเตอร์เพื่อให้เกิด  การบังคับทิศทางการไหลของกระแสตรง

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

เครื่องขยายจำนวนสารพันธุกรรมแบบเวลาจริง (Real-Time PCR)

คุณสมบัติเครื่อง – หลักการ ใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction แบบ Real-Time – ทำการวิเคราะห์ SNP โดยใช้ TagMan MGB Probes ได้ – สามารถใช้กับปฏิกิริยาเคมีทั้งชนิด Flurogenic 5’ nuclease assay และ SYBR Green1 ความสามารถในการวิเคราะห์

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS

เครื่องทดสอบความเมื่อยล้าของสมองและสายตา (Flicker fusion)

คุณสมบัติเครื่อง เครื่องมือวัดความล้าของตา (flicker fusion model 12021) เป็นเครื่องมือวัดความล้าของตาที่ใช้หลักการของ critical fusion frequency (CFF) ซึ่งเป็นการวัดที่อาศัยการทำงานร่วมกันของตาและสมอง โดยให้ ผู้ทดสอบมองแถบสีที่กระพริบด้วยความถี่ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนผู้ถูกทดสอบไม่สามารถเห็นแถบสีกระพริบอีกต่อไป ค่า CFF มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (cycle per second หรือ Hertz) เมื่อตายังไม่ล้า ตาจะรับรู้ถึงการกระพริบที่ความถี่สูงได้ดี ค่า CFF จะสูง แต่เมื่อเกิดอาการตาล้า การทดสอบจะให้ค่า CFF ที่ลดลง

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • Twitter
  • RSS